Phra KunPaen Kru Wat Yai Chaiya Mongkhon
Pim Nar Yip Pang MunWichai Nur Din
( Smiling Face )
Name
of
the
image
of
Buddha: |
Phra Kun Paen
Wat Yai Chaiya Mongkhon |
Supporter
of
casting: |
Wat Yai Chaiya Mongkhon |
Location
of
Casting
or
Finding: |
Wat
Yai
Chai
Mong
Kol
,
Ayuthaya |
Year
of
Casting: |
2003
BE |
Praise
of
the
image
of
Buddha: |
Harmproof
radiating
with
charm
and
bring
good
fortune |
Welcome, here we have a Phra Khun Paen,Kru Wat Yai Chai Mongkol,Phra Nakhon Sri Ayutthaya Buddha Amulet, Buddha Amulet Buddha is good luck for men and Love Buddha set in a stainless steel case. These Buddha's we're found many years ago in the Chedi around King Rama 5 age. This Buddha will give you Excellent luck with love, (please enlarge photos !) a real nice piece. Excellent piece for any collection. Please see the ruler in the pictures for size and if your not sure of anything please email before buying. Any viewing is welcome ,all of our Buddha's are from our own family's collection or carefully selected from secondhand markets or other dealers. A fine piece ! If you buy from us ,you Buy Knowing your Buddha is Genuine . Any questions please ask us and please check out our other Buddha's in our shop, many thanks . BUDDHA BLESS.Mahathad Temple(Naresuan was the King of the Ayutthaya Kingdom from 1590 and overlord of Lan Na from 1602 until his death in 1605. Naresuan is one of Thailand's most revered monarchs as he is known for his campaigns to free Ayutthaya from the vassalage of the Taungoo Empire. During his reign, numerous wars were fought against Taungoo Burma. Naresuan also welcomed the Dutch Prince Naret was born in Phitsanulok in 1555/56 He was the son of King Mahathammarachathirat of Phitsanulok and his queen consort, Wisutkasat. His mother was a daughter of Maha Chakkraphat and queen consort Suriyothai. His father was a Sukhothai noble who had defeated Worawongsathirat in 1548 and put Maha Chakkraphat on the throne. Prince Naret, also known as the "Black Prince" had a younger brother Ekathotsarot, known as the "White Prince", and an elder sister, Suphankanlaya In the second siege of Ayutthaya (1563?64), King Bayinnaung of the Taungoo Dynasty of Bago, Burma (formerly known in Burmese as Hanthawaddy (Burmese: and in Thai as rtgs: Hongsawadi led massive armies, invading the country and laying siege to Phitsanulok. Maha Thammarachathirat came to believe that the city would not be able to withstand a long siege due to a scarcity of food and a smallpox outbreak, so he surrendered the city. King Bayinnaung took Phitsanulok and Ayutthaya, and made Siam a Burmese tributary state. He required Maha Thammarachathirat to send his son?the Black Prince?to Bago as a hostage to ensure the king's fidelity)
* Khun Paen : was the name of a legendary Thai general who won various victories in wars. Apart from being a skilful swordsman, he was believed to possess great magical power, as it was believed that this amulet can grant the wearer with great personal protection against evil, harms and dangers. Many who had heard about Khun Paen image also must have known about its efficiency in improving one?s popularity and enhancing social relationship with people around?.素攀府 , ? 窟曼干 ? 拍坤平屏頌逢绿出塔 ? ( 禪定狀 ) 佛像 。文物年鋻 : 四百年以上坤平将军, General Khun Phien
Posted in phra khunpan with tags Khun Paen, Phra Khun Paen, thai amazing amulet, thai amulets, Thai Amulets Gallery, Thai Buddhist Culture, Thai Folk Articles, Wat Bang Klang, 坤聘将军佛牌, 坤平佛牌, 泰国佛教文物 帕坤平佛牌的来历与演变- Phra KunPaen Wat BangKrang
帕坤平瓦曼港佛牌,泰文叫พระขุนแผนวัดบ้านกร่าง, 英文叫 Phra KunPaen Wat BanKrang. 很多佛牌收藏家都有珍藏过帕坤平佛牌,老一辈的玩家也有人认为没收藏过一枚帕坤平瓦曼港是一辈子的遗憾。在这四百多年的历史和时代的演变,帕坤平佛牌款式也促渐改变。身为个佛牌爱好者除了收藏心爱的佛牌也不妨寻找它的历史,这种查证方式将令你更了解和爱护它。
根据历史和古代寓言记载:
坤平是个传奇人物,生在佛历1971至2071年之间或西历1428至1528年之间。
这闻名于世的暹罗与缅甸的白象战争在於佛历2126至2134年之间或西历1583至1591年之间。
根据瓦曼港庙里的通告板记载,坤平佛牌原产於佛历2135年或西历1592年, 至今西历2011已经419年了。
这是泰国文化局网站刊登的历史记载链接, 因为那场战争而让暹罗国家平静和荣华了150年。 根据历史和泰国史书里记载,为了纪念那叻素皇(King Naresuan)於西历 25/01/1592 年在暹罗与缅甸的一场胜利的战争而启发了暹罗新纪元。 为了纪念为国殉猝的士兵和功臣,那叻素皇谕令瓦曼港督造了8万4千枚佛祖法相佛牌藏在舍利塔里以供后世敬仰和膜拜。还有为数不明的佛牌捐赠给当时还活着士兵和功臣以做奖励,受捐赠的人都会被平民待以无上光荣和仰慕。所以瓦曼港得谕令督造帕坤平佛牌并非为了纪念坤平是个传奇人物,而是为了当时殉猝的士兵和功臣所造。
在十五世纪末,人们还活着很朴实和单纯也没想到佛牌会演变成现在这么复杂。在那朝代里这批佛祖牌就像个官衔和身份的代表。虽然佛牌并没赐些什么名称,只是后来被人们用坤平这个传奇人物的名字来替代这无名的佛牌,这第一代帕坤平佛牌的名称就这样被流转下来。
为何叫帕坤平(Phra Khunpaen)呢?帕(Phra)这字是对圣贤和佛祖的尊称, 就像Phra Somdej Prabudhachan Toh, Phra Buddha, Phra Pidta 等等。帕坤平的名称是代表当时在战场上的士兵勇猛得像坤平这个传奇人物一样。当时很多士兵受捐赠的佛牌都叫双喷(Song Pon),双喷是军队的的意思。 有分两种类,帕坤平双喷呀(พระขุนแผนทรงพลใหญ่)和 帕坤平双喷叻(พระขุนแผนทรงพลเล็ก)。帕坤平还有很多种类和产于很多庙。有些产于比瓦曼港更早几百年的也叫帕坤平,如出塔的瓦帕咯佛塔(Kru Wat Phra Roop),瓦拉查布拉纳佛塔(Kru Wat Ratchaburana)和 瓦马哈踏佛塔 (Kru Wat Mahathat)等等。
现在瓦曼港的舍利塔里已经没有了这些罕见的佛牌,全被挖掘或被盗。偶尔在古墓中还可发现这种类的佛祖牌当陪葬品以显示尊贵和荣耀。由于时代的改变,原本的帕坤平佛祖法相也起了变化,款式也千变万化和含意也有所改变。
以下这枚是出土的帕坤平双喷叻,是枚陪葬品,当初出土后由于潮湿而引发很难受的臭味,佛牌本身也因为长期埋没於地下而寒气非常重。可花了我
不少的九间古庙的圣水和数千篇Chinabhanchum经文的回向才得以净化。能量之强是我所有珍藏中排行五大之一。
พระขุนแผน กรุวัดใหญ่ชัยมงคล
รหัสสินค้า: 050
Price: 3,000,000.00 baht
พระขุนแผน
พระขุนแผน อีก 1 กรุ ณ เมืองกรุงเก่า ที่ต้องกล่าวถึงเช่นกัน เพราะถือเป็น 1 ในพระพิมพ์ขุนแผนที่มีกิตติศัพท์ด้านพุทธคุณเป็นที่เลื่องลือ ทั้งยังมีเนื้อหามวลสารและพิมพ์ทรงเดียวกันกับ "พระขุนแผนเคลือบ กรุวัดใหญ่ชัยมงคล" อีกด้วย
คือ มีทั้งพิมพ์อกใหญ่และพิมพ์อกเล็ก จะแตกต่างกันตรงที่เป็นพระที่ยังไม่ได้เคลือบด้วยน้ำยาเท่านั้น นอกจากนี้ พระกรุนี้ยังไปตรงกับ "พระขุนแผน กรุวัดบ้านกร่าง จ.สุพรรณบุรี" แต่ต่างกันก็ตรงเนื้อมวลสารที่สร้างด้วยดินขาว ดินเหลือง และดินดำ เป็นหลัก เมื่อเผาแล้วองค์พระจะออกเป็นสีขาวแบบเนื้อกระเบื้อง ทำให้เนื้อพระมีความแกร่งมากกว่า ในวงการเรียกขานพระขุนแผนกรุนี้ว่า "กรุหลังโรงเหล้า" หรือบ้างก็เรียก "กรุโรงเหล้า" ชื่อกรุพระเองก็ยังดูแปลกๆ...มาดูกันว่าเป็นมาอย่างไร
ย้อนกลับไปเมื่อปี พ.ศ.2485 โรงเรียนฝึกหัดครูสตรีประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเกาะเมือง ด้านหน้าติดถนนอู่ทอง ฝั่งตรงข้ามเป็น "โรงงานสุราพระนครศรีอยุธยา" ซึ่งหันหน้าไปทางแม่น้ำเจ้าพระยา หันหลังให้โรงเรียนฝึกหัดครูสตรี ได้ขยายและก่อสร้างอาคารเรียนเพิ่ม โดยมีผู้ควบคุมการตกแต่งสถานที่ ชื่อ ท่านอาจารย์ หลุย ชมชื่น มีคนงานทั้งชาวไทยพุทธและชาวไทยอิสลาม โดยส่วนใหญ่ทำการเกลี่ยดินได้วันละ 50 สตางค์ ในสมัยนั้น
ปรากฏว่าคนงานทำการขุดแต่งโคกโบสถ์ร้างแห่งหนึ่งซึ่งเต็มไปด้วยซากอิฐซากปูน ชาวบ้านเรียกกันว่า "วัดสิงห์หลาย" หรือ "วัดสิงห์ทลาย" ลึกลงไปประมาณหนึ่งเมตร
คนงานพบพระเนื้อผงสีขาวและสีขาวปนชมพู กระจัดกระจายเกลื่อนเป็นร้อยๆ องค์ และพบหุ่นสิงโตทองคำปะปนอยู่ด้วยตัวหนึ่ง เนื่องจากองค์พระมีพุทธลักษณะเหมือน "พระขุนแผน" ที่ขึ้นอยู่ก่อนหน้านี้ จึงเรียกพระที่พบว่า "พระขุนแผน" และเรียกชื่อกรุตามตำแหน่งที่พบ นั่นคือ "หลังโรงเหล้า" ต่อมาหดสั้นลงเป็น "โรงเหล้า" เมื่อนำพระมารวมกันมีทั้งสมบูรณ์และชำรุดจำนวนเกือบพันองค์ ก็เช่าซื้อกันองค์ละไม่เกินสิบบาท
พระขุนแผน กรุโรงหลังเหล้า (กรุโรงเหล้า) จะมีพุทธลักษณะและพิมพ์ทรงคล้ายคลึงกับพระที่เรียกว่า "ขุนแผน" ซึ่งมีอยู่ทั่วไปในเขตจังหวัดพระนคร ศรีอยุธยา คือ องค์พระประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย ภายใต้ซุ้มเรือนแก้ว อันแสดงออกถึงศิลปะสมัยอยุธยา แต่ไม่เคลือบเช่นเดียวกับพระขุนแผนกรุบ้านกร่าง สามารถแยกออกได้เป็น 2 พิมพ์ คือ "พิมพ์อกใหญ่" เนื้อขาวใบลาน และ "พิมพ์อกเล็ก" หรือ "พิมพ์แขนอ่อน" เนื้อขาวปนชมพู โดยพิมพ์อกใหญ่จะมีความแข็งแกร่งมากกว่าพิมพ์อกเล็ก
พระที่เรียกว่า "พระขุนแผน" นั้น เป็นที่ยอมรับกันทุกผู้ทุกนามในเรื่องพุทธคุณเข้มขลังที่ครบเครื่องครบครัน โดยเฉพาะด้านเมตตามหานิยมสูงส่ง มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับประสบการณ์ของพระขุนแผน ที่เรียกว่าเป็นการประชันกรุกันทีเดียว และหนึ่งในนั้นก็คือ "กรุหลังโรงเหล้า" เสียด้วย เรื่องมีอยู่ว่า ...
... ครั้งหนึ่ง มีเซียนพระ 3 คน แย่งกันจีบผู้หญิงคนเดียวกัน และแต่ละคนต่างก็จะมีของดีประจำตัวอยู่ โดย คนที่ 1 ห้อยพระขุนแผนเคลือบ กรุวัดใหญ่ชัยมงคล คนที่ 2 ห้อยพระขุนแผน กรุโรงเหล้า และคนที่ 3 ห้อยพระขุนแผน กรุวัดบ้านกร่าง จ.สุพรรณบุรี ผลปรากฏว่า คนที่ห้อย "พระขุนแผน กรุโรงเหล้า" สามารถชนะใจสาวเจ้าได้ ...
เรื่องราวนี้ ตามความเป็นจริงแล้ว อาจจะเป็นด้วยสาเหตุอื่นใดก็ตาม ... แต่ก็กลับกลายเป็นตำนานเล่าขานของพระขุนแผน 3 กรุ ที่มาประชันพุทธคุณด้านเมตตามหานิยม ในแวดวงพระเครื่องเมืองกรุงเก่าสืบต่อมา